6.3 วงจร PDCA
อาค์การผู้ผลิตมีวิธีการเพิ่มผลผลิตได้หลายวิธี ทั้งแบบตะวันตกเเละแบบญี่ปุ่น ซึ่งขึ้นอยู่กับลักษณะของการผลิต และถึงแม้ว่าะมีเครื่องเทคโนโลยีต่างๆ เป็นปัจจัยสำคัญต่อการปรับปรุงการเพิ่มผลผลิต แต่ก็ไม่สามารถทำให้เกิดคุณภาพและประสิทธิภาพสูงสุดได้ หากปราศจากพนักงานที่มีคุณภาพและความรับผิดชอบ ดังนั้น เทคนิคการปรับปรุงการเพิ่มผลผลิตท่องค์การการผลผลิตนิยมใช้อย่างแพร่หลายก็คือ เทคนิควิธีการที่ทำให้พนักงานได้มีส่วนร่วม เป็นเทคนิควิธีการที่ใช้ในองค์การผลผลิตของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งองค์การการผลิตและบริการนำมาปรับใช้ในการเพิ่มผลผลิตญี่ปุน เรียกว่า Kaizen Activity ที่รู้จักกันโดยทั่วไป ได้แก่ วงจร PDCA, 5 ส., ระบบข้อเสนอแนะ และกิจกรรมกลุ่มคุณภาพ เป็นต้น
วงจร PDCA มีชื่อเรียกว่า วงจรเดมมิง (Deming Cycle) หรือวงจรชิวฮาร์ท (Shewhart Circle)
ชิวฮาร์ท เป็นผู้คิดวงจรนี้ขึ้น โดยมีเดมมิงเป็นคนเผยแพร่ให้รู้จักกันอย่างแพร่หลาย PDCA เป็นวงจรของการบริหารจัดการ เพื่อให้เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องที่มีความสัมพันธืและเกี่ยวข้องกันดังนี้
P=Plan หมายถึง การกำหนดวัตถุประสงค์ และการตั้งเป้าหมายขององค์การในการวางแผนการ
ผลิตว่าจะผลิตอะไร และด้วยวิธีการใด เป็นต้น
D=Do หมายถึง การลงมือปฏิบัติตามแผนที่ได้กำหนดไว้
C=Check หมายถึง การตรวจสอบความก้าวหน้าผลการปฏิบัติงาน และการทบทวนข้อบกพร่องต่างๆว่า
ได้ผลตามที่กำหนดไว้หรือไม่
A=Action หมายถึง หาแนวทางปรับปรุง แก้ไข และจัดการทำมาตรฐานในส่วนที่ปฏิบัติได้ผลดี ตลอดจน
การกำหนดแนวทางในการปรับปรุง
https://th.wikipedia.org/wiki/PDCA
การประยุกต์ใช้วงจร PDCR มีข้อควรพิจารณา คือ
(1.) วงจร PDCR เป็นการริเริ่มในสิ่งใหม่ ๆ โดยเริ่มจากในขอบข่ายที่กำหนดก่อนที่จะนำไปปฎิบัติต้องมีการทบทวน แก้ไขข้อผิดพลาดจนกว่าจะได้ผลดีเเละเป็ที่ยอมรับขององค์การมาตรฐาน
(2.) ต้องมีการติดต่อสื่อสารอย่างใกล้ชิด เพื่อจะได้รู้ถึงขั้นตอนการดำเนินงาน โดยเฉพราะระหว่างผู้วางเเผนกับผู้ปฎิบัติงาน
(3.) กำหนดเป้าหมายที่เหมาะสม เเละชัดเจนองค์การจะต้องใช้ข้อมูลที่เเท้จริงในการกำหหนดเป้าหมาย จากนั้นเป็นมาตราฐานในการดำเนินงาน ซึ่งจะทำให้การปรับปรุงมีประสิทธิภาพเเละดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
(4.) มีการกำหนดเป้าหมายในการวางเเผนครั้งต่อไป ซึ่งต้องพิจารณาจากปัจจัยเเวดล้อมเป็นสำคัญ
ประโยชน์จากการนำ PDCR มาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการ
1. ทำให้การบริหารเป็นไปอย่างมีขั้นตอน มีระบบ ทำให้เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงาน
2. เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของพนักงาน
3. พนักงานได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ เเละความสามารถในการวางเเผน การปฎิบัติตามเเผน การตรวจสอบประเมินผล เเละการสาหุปรับปรุง แก้ไขงาน ได้ด้วยตนเอง
4. เป็นปัจจัยสำคัญต่อการเพิมผลผลิต
นำไปใช้งานในการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง อย่างได้ผล
6. นำไปประยุกต์ใช้กับการดำเนินชีวิตประจำวันของพนักงานได้
วันจันทร์ที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2562
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
หน่วยที่ 6 การนำกิจกรรมระบบคุณภาพเเละเพิ่มผลผลิตมาประยุกต์ใช้ในการจัดการงานอาชีพ
การเพิ่มผลผลิตในองค์การนั้นจะประสบความสำเร็จได้ต้องอาศัยวิธีการต่าง ๆ ที่นำมาใช้ในการเพิ่มผลผลิตขององค์การเเละจะต้องคำนึงถึงคุณภาพ...
-
6.4 กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ (Quality Control Circle : QCC) กิจกรรมกลุ่มคุณภาพเป็นเทคนิคการทำงานที่มุ่งเน้นให้ผู้ปฏิบัติงานได้มีส่วนร่วมในการท...
-
การเพิ่มผลผลิตในองค์การนั้นจะประสบความสำเร็จได้ต้องอาศัยวิธีการต่าง ๆ ที่นำมาใช้ในการเพิ่มผลผลิตขององค์การเเละจะต้องคำนึงถึงคุณภาพ...
-
ระบบทันเวลาพอดี (Just-is-time System) หรือ JIT หมายถึงระบบการผลิตหรือการให้บริการที่ถูกพัฒนาเเละออกแบบให้ทำการผลิต ส่งมอบสินค...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น